ปัจจุบันนี้การสื่อสารผ่าน “การคุยโทรศัพท์มือถือ” เป็นเสมือนการสื่อสารหลักของผู้คน ไม่ว่าจะเรื่องเล็กเรื่องใหญ่การสื่อสารผ่านโทรศัพท์มือถือมักจะเป็นทางเลือกแรกๆ ที่ผู้คนเลือกใช้ แน่นอนว่า พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ของแต่ละคนก็จะมีความแตกต่างกันไปตามปัจจัยต่างๆ บางคนโทรมาก บางคนโทรน้อย บางคนคุยโทรศัพท์มือถือที่ละนานๆ เป็นชั่วโมง …
สิ่งหนึ่งที่ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือต้องทราบไว้ก็คือ ถึงแม้การสื่อสารผ่านช่องทางนี้จะให้ความสะดวกและรวดเร็ว แต่ถ้าหากมีการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันบ่อยๆ เป็นเวลานาน “คุณ” อาจะเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงต่ออาการ “เสียงดังในหู” มากกว่าคนปกติถึงสองเท่า!!!
มีรายงานการวิจัยของนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์เวียนนา ซึ่งถูกตีพิมพ์ลงในวารสารออกคิวเปชันนัล แอนด์ เอนไวเรนเมนทัล เมดิซิน โดยผลการวิจัยดังกล่าวได้ชี้ให้เห็นว่า การใช้โทรศัพท์มือถืออย่างน้อย 4 ปี เพิ่มความเสี่ยงอาการเสียงดังในหูถึงสองเท่า รบกวนการนอน การทำงาน และยังกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือด้วย
ซึ่งผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือก่อนมีอาการเสียงดังในหู มีแนวโน้มมีความผิดปกติดังกล่าวเพิ่มขึ้น 37% ส่วนคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือเฉลี่ยวันละ 10 นาที มีแนวโน้มอาการเสียงดังในหูเพิ่มขึ้น 71%
นอกจากนี้ คนที่ใช้โทรศัพท์มือถือมานาน 4 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มอาการเสียงดังในหูเพิ่มขึ้นสองเท่าเมื่อเทียบกับกลุ่มเปรียบเทียบ ซึ่งอาการดังกล่าวเกิดจากการแพร่กระจายรังสีของโทรศัพท์มือถืออาจทำลายการทำงานอันละเอียดอ่อนของหูชั้นใน และยังเป็นไปได้ว่าแรงกดที่เกิดจากการกดโทรศัพท์กับหูและไหล่ระหว่างเดิน กระตุ้นให้เกิดอาการเสียงดังในหู ซึ่งอาการดังกล่าวนั้นอาจส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ เช่น รบกวนสมาธิในการทำงาน ทำให้เกิดอาการนอนไม่หลับได้
ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีผลการวิจัยที่ชี้ชัดถึงวิธีการบำบัดอาการดังกล่าว แต่วิธีป้องกันที่ดีที่สุดเพื่อไม่ให้เกิดอาการดังกล่าว คือการรักษาระดับความถี่ในการใช้โทรศัพท์มือถือให้มีความพอดี ไม่ควรคุยทีละนานๆ และคุยด้วยระดับเสียงที่ปกติ …
สิ่งหนึ่งที่ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือต้องทราบไว้ก็คือ ถึงแม้การสื่อสารผ่านช่องทางนี้จะให้ความสะดวกและรวดเร็ว แต่ถ้าหากมีการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันบ่อยๆ เป็นเวลานาน “คุณ” อาจะเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงต่ออาการ “เสียงดังในหู” มากกว่าคนปกติถึงสองเท่า!!!
มีรายงานการวิจัยของนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์เวียนนา ซึ่งถูกตีพิมพ์ลงในวารสารออกคิวเปชันนัล แอนด์ เอนไวเรนเมนทัล เมดิซิน โดยผลการวิจัยดังกล่าวได้ชี้ให้เห็นว่า การใช้โทรศัพท์มือถืออย่างน้อย 4 ปี เพิ่มความเสี่ยงอาการเสียงดังในหูถึงสองเท่า รบกวนการนอน การทำงาน และยังกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือด้วย
โดยผู้ที่มีอาการดังกล่าว 1 ใน 7 ต้องทรมานกับอาการที่รักษาไม่หายนี้ในบางช่วงของชีวิต การค้นหาสาเหตุเพิ่มเติมจึงอาจเป็นประโยชน์ต่อผู้คนนับล้านทีใช้โทรศัพท์มือถือ
ในการวิจัยครั้งนี้นักวิจัยออสเตรเลียได้เปรียบเทียบการใช้โทรศัพท์มือถือของกลุ่มตัวอย่าง 100 คนที่เข้ารับการรักษาอาการเสียงดังในหู กับกลุ่มตัวอย่างอายุเท่ากันอีก 100 คนที่ไม่มีอาการดังกล่าว
ในการวิจัยครั้งนี้นักวิจัยออสเตรเลียได้เปรียบเทียบการใช้โทรศัพท์มือถือของกลุ่มตัวอย่าง 100 คนที่เข้ารับการรักษาอาการเสียงดังในหู กับกลุ่มตัวอย่างอายุเท่ากันอีก 100 คนที่ไม่มีอาการดังกล่าว
ซึ่งผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือก่อนมีอาการเสียงดังในหู มีแนวโน้มมีความผิดปกติดังกล่าวเพิ่มขึ้น 37% ส่วนคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือเฉลี่ยวันละ 10 นาที มีแนวโน้มอาการเสียงดังในหูเพิ่มขึ้น 71%
นอกจากนี้ คนที่ใช้โทรศัพท์มือถือมานาน 4 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มอาการเสียงดังในหูเพิ่มขึ้นสองเท่าเมื่อเทียบกับกลุ่มเปรียบเทียบ ซึ่งอาการดังกล่าวเกิดจากการแพร่กระจายรังสีของโทรศัพท์มือถืออาจทำลายการทำงานอันละเอียดอ่อนของหูชั้นใน และยังเป็นไปได้ว่าแรงกดที่เกิดจากการกดโทรศัพท์กับหูและไหล่ระหว่างเดิน กระตุ้นให้เกิดอาการเสียงดังในหู ซึ่งอาการดังกล่าวนั้นอาจส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ เช่น รบกวนสมาธิในการทำงาน ทำให้เกิดอาการนอนไม่หลับได้
ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีผลการวิจัยที่ชี้ชัดถึงวิธีการบำบัดอาการดังกล่าว แต่วิธีป้องกันที่ดีที่สุดเพื่อไม่ให้เกิดอาการดังกล่าว คือการรักษาระดับความถี่ในการใช้โทรศัพท์มือถือให้มีความพอดี ไม่ควรคุยทีละนานๆ และคุยด้วยระดับเสียงที่ปกติ …
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น